คลิ้ก! เพื่อเลือกหมวดหมู่บทความ
บทความล่าสุด
ผมเชื่อว่านักลงทุนส่วนใหญ่ย่อมต้องเคยมีความฝันที่จะสร้างความร่ำรวยอย่างมหาศาลจากการลงทุนในตลาดหุ้นกันไม่มากก็น้อย คำถามก็คือ … ความจริงแล้วนักลงทุนส่วนใหญ่นั้นมีโอกาสมากแค่ไหนที่จะเป็น “มหาเศรษฐี” จากการลงทุนในตลาดหุ้นกันแน่? ในบทความนี้ ผมจะนำนักลงทุนทุกท่านไปพบกับข้อเท็จจริงและความน่าจะเป็นของเรื่องนี้แบบตรงไปตรงมา เพื่อช่วยสร้างความคาดหวังที่สมจริงในการลงทุนกันครับ!
บทความพิเศษ
เนื่องจากเราค่อนข้างมั่นใจว่าในปีนี้นักลงทุนรายย่อยส่วนใหญ่มีผลการลงทุนที่ไม่ค่อยจะดีนัก ทำให้นักลงทุนหลายๆคนที่ตั้งใจลงทุนอย่างมีหลักการเกิดความท้อแท้และรู้สึกหมดกำลังใจในการลงทุนไปพอสมควร เราจึงอยากที่จะแชร์แนวคิดในการวิเคราะห์ผลตอบแทนด้วยปัจจัยหนุนนำในระดับเบื้องต้น (Factor Analysis) ซึ่งจะทำให้คุณเข้าใจที่มาที่ไปของผลตอบแทนที่เกิดขึ้น และยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้กับการลงทุนในหลายๆแนวทางอีกด้วยครับ 😀
องค์ความรู้และความเข้าใจเพื่อการลงทุนอย่างเป็นระบบ
ทำไมนักลงทุนบางคนจึงมักติดขาดทุนและดอยแบบซ้ำๆซากๆไม่จบไม่สิ้นกับหุ้นหลายๆตัวเสียทีหนอ? สาเหตุหลักๆอย่างหนึ่งก็เพราะพฤติกรรมการลงทุนของพวกเขาเหล่านั้น ที่มักชอบ “ซื้อหุ้น” หรือ “ไม่ยอมขายหุ้น” ที่มีแนวโน้มเป็นขาลงอย่างชัดเจน เพราะรู้สึกว่าราคาของพวกมันได้เตี้ยต่ำจนติดดินแล้วนั่นเองในวันนี้ผมจึงอยากที่จะแสดงให้เห็นถึงอันตรายของการชอบซื้อหุ้นที่ดูราคาถูก โดยไม่ได้คำนึงถึงปัจจัยทางเทคนิคหรือพื้นฐานต่างๆ โดยเฉพาะกับสัญญาณหายนะที่เรียกว่า “52 Weeks Low” ซึ่งจะช่วยให้เราสามารถหลีกเลี่ยงการติดดอยแบบข้ามชาติกันได้นั่นเองครับ!
บทความนี้เกิดขึ้นจากการสอบถามเข้ามาของผู้อ่านท่านหนึ่งที่ติดตาม SiamQuant มาอย่างยาวนาน ได้เสนอแนะให้พวกเราทำการทดสอบแนวคิดจากหนังสือ Quantitative Momentum โดยเราได้พบองค์ความรู้น่าสนใจเกี่ยวกับกลยุทธ์แบบ Momentum ที่จะมาแบ่งปันให้เพื่อนๆพี่ๆน้องๆนักลงทุนกันครับ
ในบทความนี้เราจะมาใช้การวิเคราะห์เชิงปริมาณและเทคนิคทางสถิติมาวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อศึกษาหาองค์ความรู้ของผลกระทบจากการ “เพิ่มทุน” กันครับ โดยผมหวังว่าจะทำให้ผู้อ่านได้มีความเข้าใจที่มากขึ้นเกี่ยวกับการเพิ่มทุน, พฤติกรรมราคาของหุ้นที่มีการเพิ่มทุนผ่านตัวเลขและค่าสถิติมากกว่า “ความเชื่อ” ที่ถูกส่งต่อๆกันมาครับ
เคยสงสัยกันไหมครับ ว่าเวลาที่เราตัดสินใจลงทุนในกองทุนไม่ว่าจะเป็น กองทุนรวม (Mutual Fund), กองทุนส่วนบุคคล (Private Fund) รวมถึงการลงทุนอื่นๆ เรามักจะได้ยินประโยคจากผู้จัดการกองทุน หรือผู้ให้คำแนะนำด้านการลงทุนในทำนองที่ว่า “เวลาลงทุน…
ในบทความนี้ เราจะมาพูดถึงวิธีการวิเคราะห์แบบ Return-Based Style Analysis ซึ่งจะช่วยให้คุณรู้ได้จริงๆว่าผลตอบแทนของนักลงทุนแต่ละคนนั้น เกิดขึ้นจากปัจจัยอะไรจริงๆกันแน่? โดยจะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้กับทั้งการวิเคราะห์ผลตอบแทนของกองทุน, นักลงทุนชื่อดังต่างๆ หรือแม้แต่กลยุทธ์ที่คุณลงทุนอยู่เช่นกันครับ!