ในบทความ “How The Economic Machine Works ?” Ray Dalio เปรียบเทียบระบบเศรษฐกิจว่า “ไม่ต่างอะไรกับเครื่องจักรขนาดใหญ่ที่ประกอบไปด้วยฟันเฟืองต่างๆมากมายด้านในเป็นการทำงานร่วมกันของสิ่งที่เรียบง่ายที่มีจำนวนมหาศาล” พวกเรา SiamQuant อยากเชิญชวนให้ทุกคนลองเข้ามาอ่านกันดูครับ!!
ในวันนี้เราจะพาทุกคนมาไขความลับเกี่ยวกับการใช้ค่า Long-Term P/E Ratio ในระยะยาวจากผลการทดสอบในตลาดหุ้นไทยกัน เพื่อพิสูจน์ความจริงกันว่า คำแนะนำของ Benjamin Graham จะยังคงใช้ได้กับตลาดหุ้นไทยเมื่อวันเวลาผ่านมากว่าชั่วอายุคนได้หรือไม่!?
จำเป็นด้วยหรือ ที่เราจะต้องคำนวณค่า P/E Ratio ด้วยผลกำไรสุทธิเพียง 1 ปีย้อนหลัง อย่างที่หลายๆคนทำกันไม่เว้นแม้แต่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย? เราจะคำนวณเป็นค่า P/E Ratio ย้อนหลัง 2, 5 หรือ 10 ปีกันแทนไม่ได้หรืออย่างไร!? แล้วถ้าทำอย่างนั้น อะไรจะเกิดขึ้นกันล่ะ? และนี่คือสิ่งที่คุณกำลังจะได้รับรู้กันต่อจากนี้ครับ!!
เราคงไม่ต้องอธิบายว่า “เส้นค่าเฉลี่ย” เป็นหนึ่งในเครื่องมือที่ได้รับความนิยม และเป็นที่รู้จักของเพื่อนๆนักลงทุนมากแค่ไหน แต่ถ้าถามกลับไปก็แทบไม่น่าเชื่อว่า…มีน้อยคนนักที่รู้ว่าเหตุใดมันจึงเกิดขึ้นมา และมันเกิดขึ้นมาได้อย่างไร? แล้วใครเป็นคนแรกที่ค้นพบเครื่องมือสำคัญตัวนี้? วันนี้เราจะพาเพื่อนๆไปหาคำตอบพร้อมกันเลยครับ!
ในวันนี้เราจึงอยากพาทุกคนไปเรียนรู้ถึงความมหัศจรรย์ของเส้นค่าเฉลี่ยหรือ Moving Average ด้วยการสรุปงานวิจัยด้านการเงินที่โด่งดังที่สุดชิ้นหนึ่งของโลก ซึ่งเขียนโดยผู้จัดการกองทุนชื่อดังอย่าง Mebane T. Faber แห่งกองทุน Cambria Investment ให้ได้อ่านกันครับ!
อันตรายอย่างหนึ่งของการเป็นควอนท์ก็คือ การที่เราค้นพบกลยุทธ์บางอย่างที่สามารถทำกำไรได้ดีในอดีต และนำมันไปใช้โดยคิดว่าจะสามารถทำกำไรได้เช่นเดียวกันในอนาคต ทั้งที่ความจริงแล้วกลยุทธ์ดังกล่าวอาจทำกำไรได้เพียงเพราะความ “โชคดี” เท่านั้น
ในปัจจุบันหลายคนอาจไม่เคยได้ยินชื่อของ Martin Zweig มาก่อน แต่หากย้อนไปเมื่อ 30 ปีก่อนแล้วล่ะก็ เป็นไปไม่ได้เลยที่จะมีใครไม่รู้จักเขา
Martin Zweig ได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งใน ”กูรู” รุ่นบุกเบิกของการลงทุนในสหรัฐ
เคยไหมครับ? เวลาเราวิเคราะห์หาหุ้นเจอสักตัวหนึ่ง ดูปัจจัยพื้นฐานก็น่าสนใจและราคาก็ถือว่าไม่แพง แต่พอเราจะเข้าซื้อ กลับไม่มีไม่มีคนซื้อขายกันเอาเสียเลย วันนี้เราจะมาทำความรู้จักกับสภาพคล่องของหุ้น หรือ Asset Liquidity นั่นเองครับ
ในวันนี้เราจะมาเจาะลึกเกี่ยวกับอัตราส่วน Enterprise Multiple จากงานวิจัยของ Tobias Carlisle ที่หลายๆคนอาจยังไม่ค่อยรู้จักกันดูบ้าง แล้วคุณจะพบว่าอัตราส่วนทางการเงินบางอย่างที่คุณนึกไม่ถึง… อาจให้ผลตอบแทนที่ดีกว่าอัตราส่วนเดิมๆที่คุณเคยรู้จักก็เป็นได้!